2srisuda073
วันพุธที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2555
วันอังคารที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2555
แนะนำตัวเอง
ชื่อ นางสาวศรีสุดา หนูเซ่ง ชื่อเล่น บิว
เกิดวันที่ 1 ธันวาคม 2532 อายุ 22 ปี
กำลังศึกษา : มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร คณะวิทยาลัยการฝึกหัดครู
ปีที่ 4 หมู่เรียนที่ 2
เบอร์โทร : 091-0924070
E-mail : nongbill_bb@hotmail.com
ภูมลำเนา : จังหวัดตรัง
งาอดิเรก : ดูหนัง ฟังเพลง เล่นคอม
คติประจำตัว : ฝันให้ไกล,,,ไปให้ถึง
วันพฤหัสบดีที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2555
ข่าว"การศึกษา"
พาดหัวข่าว : สพฐ.ให้ชุมชนร่วมแก้ปัญหา ร.ร.ขนาดเล็ก ไม่ต้องยุบรวม
เลขาธิการ กพฐ. เปิดโอกาสให้ชุมชนมีส่วนร่วมรักษาและบริหารโรงเรียนขนาดเล็กให้มี
ประสิทธิภาพ กันการถูกยุบรวม ส่วนเหตุโรงเรียนไม่จ่ายค่าหนังสือให้องค์การค้าฯ อาจเพราะยังได้หนังสือไม่ครบกำหนด...
เมื่อวันที่ 12 ก.ค. นายชินภัทร ภูมิรัตน เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (กพฐ.) เปิดเผยถึงการแก้ปัญหาโรงเรียนขนาดเล็ก ซึ่งขณะนี้พบว่าโรงเรียนบ้านตลาดพัฒนา จ.ศรีสะเกษ ซึ่งเป็นโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา (สพป.) ศรีษะเกษ เขต 2 มีนักเรียนทั้งโรงเรียนอยู่เพียง 4 คน ว่า การแก้ปัญหาโรงเรียนขนาดเล็กต้องหาแนวทางการแก้ปัญหาแบบเป็นกลางมากที่สุด ดังนั้น โรงเรียนขนาดเล็กที่อยู่ในเกณฑ์ขนาดของโรงเรียนและจำนวนนักเรียนที่เข้าข่าย ยุบรวมหรือยุบเลิกสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) จะเปิดโอกาสให้ชุมชนช่วยคัดค้านรักษาโรงเรียนเหล่านั้นไว้ด้วยเหตุผล ความจำเป็นของแต่ละชุมชน แต่จะต้องมีแผนบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ หรืออาจจะมีสูตรการแก้ไขในการจัดสรรทรัพยากรขั้นต่ำเพื่อทำให้โรงเรียนเหล่า นั้นอยู่รอดต่อไปได้
ส่วนกรณีองค์การค้าของสำนักงานคณะกรรมการส่ง เสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ออกมาระบุว่า ยังมีโรงเรียนจำนวนหนึ่งที่ยังไม่จ่ายค่าจัดพิมพ์หนังสือเรียน รวมประมาณ 400-600 ล้านบาทนั้น เลขาธิการ กพฐ. กล่าวว่า สพฐ.ได้โอนงบค่าหนังสือเรียนไปยังสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา (สพท.) ทุกเขต และจัดสรรงบประมาณไปยังโรงเรียนทุกแห่งแล้ว สันนิษฐานว่าสาเหตุที่โรเงรียนยังไม่จ่ายเงิน อาจเป็นเพราะยังได้รับหนังสือเรียนไม่ครบตามจำนวนที่สั่งพิมพ์ อาทิ สั่งหนังสือเรียน 8 รายการ 2,000 เล่ม แต่เพิ่งส่งหนังสือเรียนไปให้ 5 รายการ 1,200 เล่ม ยังขาดอีก 800 เล่ม คิดว่าโรงเรียนคงไม่จงใจติดหนี้โดยไม่ยอมจ่าย อย่างไรก็ตาม ยินดีที่จะช่วยติดตามเรื่องดังกล่าวให้.
เมื่อวันที่ 12 ก.ค. นายชินภัทร ภูมิรัตน เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (กพฐ.) เปิดเผยถึงการแก้ปัญหาโรงเรียนขนาดเล็ก ซึ่งขณะนี้พบว่าโรงเรียนบ้านตลาดพัฒนา จ.ศรีสะเกษ ซึ่งเป็นโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา (สพป.) ศรีษะเกษ เขต 2 มีนักเรียนทั้งโรงเรียนอยู่เพียง 4 คน ว่า การแก้ปัญหาโรงเรียนขนาดเล็กต้องหาแนวทางการแก้ปัญหาแบบเป็นกลางมากที่สุด ดังนั้น โรงเรียนขนาดเล็กที่อยู่ในเกณฑ์ขนาดของโรงเรียนและจำนวนนักเรียนที่เข้าข่าย ยุบรวมหรือยุบเลิกสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) จะเปิดโอกาสให้ชุมชนช่วยคัดค้านรักษาโรงเรียนเหล่านั้นไว้ด้วยเหตุผล ความจำเป็นของแต่ละชุมชน แต่จะต้องมีแผนบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ หรืออาจจะมีสูตรการแก้ไขในการจัดสรรทรัพยากรขั้นต่ำเพื่อทำให้โรงเรียนเหล่า นั้นอยู่รอดต่อไปได้
ส่วนกรณีองค์การค้าของสำนักงานคณะกรรมการส่ง เสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ออกมาระบุว่า ยังมีโรงเรียนจำนวนหนึ่งที่ยังไม่จ่ายค่าจัดพิมพ์หนังสือเรียน รวมประมาณ 400-600 ล้านบาทนั้น เลขาธิการ กพฐ. กล่าวว่า สพฐ.ได้โอนงบค่าหนังสือเรียนไปยังสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา (สพท.) ทุกเขต และจัดสรรงบประมาณไปยังโรงเรียนทุกแห่งแล้ว สันนิษฐานว่าสาเหตุที่โรเงรียนยังไม่จ่ายเงิน อาจเป็นเพราะยังได้รับหนังสือเรียนไม่ครบตามจำนวนที่สั่งพิมพ์ อาทิ สั่งหนังสือเรียน 8 รายการ 2,000 เล่ม แต่เพิ่งส่งหนังสือเรียนไปให้ 5 รายการ 1,200 เล่ม ยังขาดอีก 800 เล่ม คิดว่าโรงเรียนคงไม่จงใจติดหนี้โดยไม่ยอมจ่าย อย่างไรก็ตาม ยินดีที่จะช่วยติดตามเรื่องดังกล่าวให้.
ที่มา : หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ ฉบับวันที่ วันพฤหัสบดีที่ 12 กรกฎาคม 25555
บทความเกี่ยวกับเทคโนโลยีเว็บ 2.0
Dooid
Dooid อีกหนึ่งบริการสำหรับสร้างเพจแนะนำตัวแบบหน้าเดียวหรือจะเรียกเป็นนามบัตร
ออนไลน์ก็ได้ก่อนหน้านี้ได้เคยแนะนำบริการที่คล้ายๆกัน คือ About.me และ Mynam.es ซึ่งเป็นบริการแบบเดียวกันแต่ลูกเล่นอื่นๆ แตกต่างกันออกไป สำหรับ Dooid มีให้เลือกใช้บริการทั้งแบบฟรีและแบบเสียเงินสามารถเลือกใส่ข้อมูลต่างๆ ได้อย่างครบครัน ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลการติดต่อ, เว็บโซเชียลเน็ตเวิร์กต่างๆเลือกธีมและรองรับการแสดงผลบนมือถืออีกด้วย ซึ่งฟีเจอร์เจ๋งๆ จะถูกจำกัดให้ใช้เฉพาะแบบเสียเงินเท่านั้น แต่สำหรับใครที่ต้องการเพจแนะนำตัวแบบพื้นฐาน Dooid ก็สามารถตอบโจทย์ความต้องการได้
วันอังคารที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2554
แนวคิดที่จะนำเทคโนโลยีมาใช้ในการจัดการเรียนรู้
แนวคิดที่จะนำเทคโนโลยีมาใช้ในการจัดการเรียนรู้
ปัจจุบันโลกมีการเปลี่ยนแปลงในทุกด้านอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ความก้าวหน้าทั้งด้านเทคโนโลยีและสารสนเทศการศึกษา จึงจำเปนต้องมีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงจากระบบการศึกษาที่มีอยู่เดิม เพื่อให้ทันสมัยต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี และ สภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป อีกทั้งเพื่อแก้ไขปัญหาทางการศึกษาในบางเรื่อง เช่น ปัญหาที่เกี่ยวเนื่องกับจำนวนผู้เรียนที่มากขึ้น การพัฒนาหลักสูตรที่ทันสมัย การผลิตและพัฒนาสื่อใหม่ๆขึ้นมาเพื่อตอบสนองการเรียนรู้ของมนุษย์ ให้เพิ่มมากขึ้นด้วยระยะเวลาที่สั้นลง การใช้นวัตกรรมมาประยุกต์ในระบบการบริหาร การจัดการด้านการศึกษา ก็มีส่วนช่วยให้การใช้ทรัพยากรการเรียนรู้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เหตุที่ต้องมีการสร้างนวัตกรรมทางการศึกษาเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีเป็นไปอย่างรวดเร็ว การเรียนการสอนจึงต้องตอบสนองการเรียนการสอนแบบใหม่ๆที่ช่วยให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้เร็วและเรียนรู้ได้มากในเวลาจำกัด
รูปแบบของสื่อหลายมิติในการเรียนการสอน
รูปแบบของสื่อหลายมิติในการเรียนการสอน
วัฒนา นัทธี .2547 http://www.edtechno.com/ กล่าวไว้ว่า ลักษณะโคร่งสร้างของสื่อหลายมิติ โดยทั้วไปแล่งออกเป็น 3 แบบ
(1) รูปแบบหลัก(domain model:dm) เป็น รูปแบบโครงสร้างหลักของข้อมูลสารสนเทศทั้งหมดที่นำเสนอให้ผู้เรียน โดยรูปแบบหลักเปรียบเสมือนคลังของข้อมูลไม่ว่าจะเป็นเนื้อหาประวัติ เนื้อแฟ้มข้อมูลนักเรียน
(2) รูปแบบของผู้เรียน(student model:sm) เป็น การออกแบบระบบที่ให้ความสำคัญกับรูปแบบการเรียนรู้ และคุณลักษณะของผู้เรียนแต่ละคนที่เหมาะสมกับข้อมูลสารสนเทศและเนื้อหาที่นำ เสนอเพื่อการตอบสนองแบบรายบุคคล
(3) รูปแบบการปรับตัว เป็นรูปแบบของความสามารถในการปรับตัวของระบบ ที่สอดคล้องกับรูปแบบหลัก และรูปแบบของผุ้เรียน โดยรูปแบบการปรับตัว ( Apaptive Model:AM) เป็นการพัฒนาโปรแกรมหรือระบบที่สามารถนำมาปรับใช้สื่อหลายมิติแบบปรับตัวได้ โดยส่วนใหญ่นิยมพัฒนาโดยใช้เทคโนโลยีเว็ปเป็นฐาน (Web-Based Intruction)
ภิดานันท์ มลิทอง (2540:269) กล่าวไว้ว่า สื่อหลายมิติในการเรียนการสอนเป็นเทคนิคขยายความคิดของข้อความหลายมิติใน เรื่องของการเสนอข้อมูลในลักษณะไม่เป็นเส้นตรงและมีเพิ่มความสามารถในการบรรจุข้อมูลในลักษณะของภาพเคลื่อนไหวแบบวีดีทัศน์ ภาพกราฟฟิกที่เป็นภาพนิ่งและเป็นภาพเคลื่อนไหวภาพสามมิติ ภาพถ่ายเสียงพูด เสียงดนตรีเข้าไว้ในเนื้อหาเรื่องราวในลักษณะต่างๆได้หลายรูปแบบมากขึ้นกว่าเดิม
กิดานันท์ มะลิทอง http://wongketkit.blogspot.com/ ได้กล่างไว้ว่าลักษณะของสื่อหลายมิติว่า
(1) ภาพนิ่ง
(2) ภาพเคลื่อนไหว
(3) ภาพถ่าย
(4) เสียงพูด
(5) เสียงดนตรี
ทั้งหมดนี้เป็นลักษณะของสื่อหลายมิติ ที่ผู้สอนจะนำไปใช้ในการเรียนการสอน ทำให้นักเรียนมีความใฝ่เรียนมากขึ้น และเป็นแรงจูงใจอีกอย่างหนึ่ง
สรุป
รูปแบบสื่อหลายมิติในการเรียนการสอน ประกอบด้วย
เอกสารอ้างอิง
วัฒนา นัทธี .2547 http://www.edtechno.com/ กล่าวไว้ว่า ลักษณะโคร่งสร้างของสื่อหลายมิติ โดยทั้วไปแล่งออกเป็น 3 แบบ
(1) รูปแบบหลัก(domain model:dm) เป็น รูปแบบโครงสร้างหลักของข้อมูลสารสนเทศทั้งหมดที่นำเสนอให้ผู้เรียน โดยรูปแบบหลักเปรียบเสมือนคลังของข้อมูลไม่ว่าจะเป็นเนื้อหาประวัติ เนื้อแฟ้มข้อมูลนักเรียน
(2) รูปแบบของผู้เรียน(student model:sm) เป็น การออกแบบระบบที่ให้ความสำคัญกับรูปแบบการเรียนรู้ และคุณลักษณะของผู้เรียนแต่ละคนที่เหมาะสมกับข้อมูลสารสนเทศและเนื้อหาที่นำ เสนอเพื่อการตอบสนองแบบรายบุคคล
(3) รูปแบบการปรับตัว เป็นรูปแบบของความสามารถในการปรับตัวของระบบ ที่สอดคล้องกับรูปแบบหลัก และรูปแบบของผุ้เรียน โดยรูปแบบการปรับตัว ( Apaptive Model:AM) เป็นการพัฒนาโปรแกรมหรือระบบที่สามารถนำมาปรับใช้สื่อหลายมิติแบบปรับตัวได้ โดยส่วนใหญ่นิยมพัฒนาโดยใช้เทคโนโลยีเว็ปเป็นฐาน (Web-Based Intruction)
กิดานันท์ มะลิทอง http://wongketkit.blogspot.com/ ได้กล่างไว้ว่าลักษณะของสื่อหลายมิติว่า
(1) ภาพนิ่ง
(2) ภาพเคลื่อนไหว
(3) ภาพถ่าย
(4) เสียงพูด
(5) เสียงดนตรี
ทั้งหมดนี้เป็นลักษณะของสื่อหลายมิติ ที่ผู้สอนจะนำไปใช้ในการเรียนการสอน ทำให้นักเรียนมีความใฝ่เรียนมากขึ้น และเป็นแรงจูงใจอีกอย่างหนึ่ง
สรุป
รูปแบบสื่อหลายมิติในการเรียนการสอน ประกอบด้วย
1. รูปแบบหลัก เป็นรูปแบบโครงสร้างหลักของข้อมูลสารสนเทศทั้งหมดที่นำเสนอให้แก่ผู้เรียน เปรียบเสมือนคลังของข้อมูล
2. รูปแบบของผู้เรียน เป็นการออกแบบระบบที่ให้ความสำคัญกับรูปแบบการเรียนรู้และคุณลักษณะของผู้ เรียนแต่ละคนที่เหมาะสมกับข้อมูลสารสนเทศและเนื้อหาที่นำเสนอเพื่อการตอบ สนองแบบรายบุคคล
3. รูปแบบการปรับตัว เป็นรูปแบบของความสามารถในการปรับตัวของระบบที่สอดคล้องกับรูปแบบหลัก และรูปแบบของผู้เรียน
เอกสารอ้างอิง
ภิดานันท์ มลิทอง. สื่อหลายมิติในการจัดการเรียนการสอน.- - กรุงเทพฯ:จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540. 269หน้า.
กิดานันท์ มะลิทอง URL: http://wongketkit.blogspot.com/ เข้าถึงเมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม 2554
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)